README เป็น text file ที่เอาไว้อธิบายรายละเอียดของ Project หรือ Information นั้นๆ ให้ทุกคนเข้าใจตรงกัน โดนจะเขียนอยู่ในรูปแบบ Format ของ Markdown language ยกตัวอย่าง
Markdown is lightweight markup language จะเป็นการใส่ format เข้าไปใน Text
เดี๋ยวเราจะมาเริ่มวิธีการเขียน Markdown กันซึ่งก็จะเป็นสัญญาลักษณ์พื้นๆ ที่ถ้าอ่านจบก็สามารถนำไปทำ Document สวยๆ สำหรับระบบได้เลยครับ
Headers — ใช้ในการเขียนหัวข้อซึ่งหลักๆ จะมีอยู่ 6 ระดับไล่จาก 1–6 หรือใหญ่ไปเล็ก
Emphasis — สำหรับจัดการข้อความตัวเอียงและหนา
Lists — สำหรับการเขียนหัวข้อมีทั่งแบบตัวเลขและแบบวงกลมทั่วไป
Images — ไว้แสดงผลรูปภาพจากลิ้งข้างนอก
Links — ไว้แปะลิ้งเพื่อกดไปยังเว็บอื่นหรือเรียกว่า Hyper links
Block quotes — สำหรับใส่ข้อความในลักษณ์คำพูด
Black slash escapes — สำหรับแสดงสัญญาลักษณ์เช่น * หรืออื่นเพราะปกติแล้วมันถูกใช้ทำตัวหนาแต่ถ้าเราอยากจะแสดงผลเป็น * จริงๆ เราก็ทำได้แบบนี้
Tables — สำหรับสร้างตาราง
Codes — สำหรับแสดงผลหรือจัดฟอร์แมตโค้ด สำหรับอักษรตัวที่ใช้งานนั้นปุ่มจะอยู่ที่ตัวหนอน หรือตัวเปลี่ยนภาษาของ Windows และมันคนละแบบกับ Single quote
Checkbox — ไว้สำหรับทำตัวเลือกหรือติ๊กถูก
Drop us a line and we will get back to you